วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

learning log outside classroom

ภาษาไทยส่วนใหญ่เป็นภาษาหลักมีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากภาษาที่ส่วนใหญ่เป็นภาคประธาน ภาคแสดง(subject-predicate)เช่นภาษาอังกฤษ ประโยคในภาษาไทยไม่เหมือนภาษาอังกฤษเพราะภาษาไทยไม่มีขอบเขตประโยคที่แน่นอนในประโยคไม่มีประธานและกริยาทีแสดงความสัมพันธ์กับปรธานไม่มีจุดที่แสดงให้เห็นขอบเขตประโยตบอกเล่าในภาษาอังกฤษแต่มีลักษณะความคิดว่าต้องเข้าใจลักษณะภาษาไทย ซึ่งการเข้าใจลักษณะภาษาไทยทำให้การคิดแปลเป็นภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง
ประโยคไทยไม่ตรงกับsentenceแต่มีลักษณะเป็นหน่วยความคิดหรือprepositionเมื่อแปลภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ผู้แปลต้องเข้าใจโครงสร้างภาษาไทยเป็นสิ่งแรก คือความที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจโดยเฉพาะประธานของประโยค เพราะเป็นการเข้าใจระหว่างผู้รับ-ส่งสาร เช่นถามว่าไปไหนแล้วตอบว่าไปตลาด เมื่อเป็นประธานจะต้องมีการเพิ่ง you และแม้กรรมและบุพบทยังมีการละในประโยคซึ่งต้องตรวจสอบให้ดี แล้วดูกริยาต้องหากริยาแท้ให้สัมพันธ์กับประธาน
ความที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจเช่น เมื่อขนมอยู่หน้า คนถามจะถามว่าชอบไหม  ผู้ที่จะแปลต้องเข้าใจการละ เป็นขั้นแรกของการแปล ประธานคือ เธอ และกรรมคือขนม  ต้องคำนึงกริยาสัมพันธ์กับประธาน มีการเดาจากบริบท อาจใช้คำที่เป็นคำกลางๆไม่ชี้เจาะจงว่าเป็นใคร เช่นภาคกลางปลูกข้าวไว้เยอะ แปลได้คือ In the central part, people grow a lot of rice.ในประโยคภาคกลางไม่ใช่ประธานเพราะปลูกเองไม่ได้
การเข้าใจภาษาใบบทบาทของความหลัก(topic)ในประโยคภาษาไทยในเรื่องcase relationในภาษาอังกฤษ โดยFill more ได้เสนอวิธีคิดจำแนกองค์ประกอบในประโยคเกี่ยวบทบาท Clark and Clark ได้อธิบายนามวลีในประโยคมี case role หรือ case relationคือมีบทบาทและความสัมพันธ์กับกริยาต่างกัน Fill more จำแนกลักษณะcase relationคือบทบาทกริยาต่างกัน แบ่งเป็น6จำพวกใหญ่ๆ คือผู้กระทำกริยา active ต่อมาคือผู้ประสบเหตุ(experiencer case)
การเข้าใจภาษาใบบทบาทของความหลัก(topic)ในประโยคภาษาไทยในเรื่องcase relationในภาษาอังกฤษ โดยFill more จำพวกวัตถุประสงค์(goal case)เป็นจุดหมายปลายทางของกริยา เช่น John built a house คำว่าhouse เป็นจุดประสงค์ในการสร้างของJohn  ต่อมาคือlocationสถานที่ของกริยาที่เกิดขึ้น และอย่างสุดท้ายคือ สิ่งที่ได้รับการกนะทำ(objective case)เป็นผู้รับการกระทำของกริยา
Case relationในภาษาไทยความสัมพันธ์นามวลีกับกริยาวลี case relationในหน่วยประโยคใช้อธิบายลักษณะทางภาษาได้ดีเพราะในภาษาไทยเป็นลักษณะเชิงความหมายsemanticความสัมพันธ์ทางไวยากรณ์ขององค์ประกอบsyntaxอธิบายได้ไม่ดีเท่าการอธิบายไวยากรณ์ ภาษาไทยมีโครงสร้างอย่างง่าย2ประการ คือ ประธาน นามวลี กริยาวลี
การแปลประโยคภาษาไทเป็นภาษาอังกฤษ มีแบบฝึกหัดให้หาประธานของประโยคเหล่านี้และให้ฝึกแปล1.แพ้งๆแพงใครจะไปซื้อลง มีประธานคือ it ข้าพเจ้าแปประโยคนี้ว่า it is very expensive , who would like to buy it? ประโยคต่อมาคือ สวยจังเลยเนอะอยากสวยเหมือนเขาบ้าง ประธานคือhe หรือ she แปลประโยคได้ว่า she is beautiful, I want to be like her.และประโยค เป็นอะไรปวดท้องหรือ ประธานคือyou แปลความหมายประโยคว่า What happen, are you stomas ache? ซึ่งประโยคยังต้องมีการตรวจโดยผู้รู้อีกครั้ง



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น